วันอาทิตย์ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

การใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอน บทที่ 4

บทที่  4
ผลการศึกษาค้นคว้า
การศึกษาอิสระ เรื่อง  โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอน  เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ  (Survey  Research)  โดยการสำรวจแบบวัดผลครั้งเดียว  โดยการออกแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการสำรวจข้อมูล  ความคิดเห็นจากกลุ่มตัวอย่างจำนวนทั้งสิ้น  50 คน  แล้วนำมาวิเคราะห์ข้อมูล ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้  โดยสามารถนำเสนอผลการศึกษาอิสระตามลำดับต่อไปนี้
                    ส่วนที่ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
                   ส่วนที่ 2  ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้การใช้โปรแกรมตัดต่อวีดิโอ
                   ส่วนที่ แบบประเมินความพึงพอใจ
                   ส่วนที่ 4  ความคิดเห็นเกี่ยวกับการนำโปรแกรมตัดต่อวีดิโอไปใช้ 























โดยผลการศึกษาจะสรุปแบ่งออกเป็นแบบสรุปสำหรับนิสิตคณะศึกษาศาสตร์ แต่ละสาขา
ผลการศึกษาของสาขาวิชาสังคมศึกษา
การศึกษาอิสระ
เรื่อง  โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอน    
ในการดำเนินการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ได้ดำเนินการโดยแจกแบบสอบถาม เรื่อง โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอน  ให้กับนิสิตสาขาสังคมศึกษา จำนวน 10 ชุด (10 คน) แต่ได้แบบสอบถามกลับคืนมา 10 ชุด โดยคิดเป็นร้อยละ ดังนี้
ตารางที่ 1 ตารางแสดงการแจกแบบสอบถามสำหรับสาขาวิชาสังคมศึกษา
แบบสอบถาม
จำนวนที่แจก (ฉบับบ)
จำนวนที่ได้รับ(ฉบับ)
ร้อยละ
แบบสอบถามสาวิชาสังคมศึกษา
10
10
100

ส่วนที่ 1  ข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถาม
          ตารางที่ 2 แสดงจำนวนร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามเพศ  อายุ ชั้นปี และที่พัก 2.1 จำแนกตามเพศ
เพศ
จำนวน (คน)
ร้อยละ
ชาย
3
60
หญิง
2
40
รวม
5
100
2.2 จำแนกตามอายุ
อายุ ปี
จำนวน (คน)
ร้อยละ
18-21  ปี
4
80
22-25  ปี
1
20
รวม
5
100
2.3 จำแนกตามที่พัก
ที่พัก
จำนวนคน
ร้อยละ
หอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ขามเรียง
1
20
หอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ในเมือง
2
40
หอพักนอกมหาวิทยาลัย
2
40
บ้านพักส่วนตัว
0
0
อื่นๆ………………………
0
0
รวม
5
100
จากตารางที่ 2.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเป็นผู้ชายโดยคิดเป็นร้อยละ 60 และผู้หญิงร้อยละ 40 ของผู้ตอบแบบสอบถาม  จากตาราง 2.2 พบว่าผู้ตอบแบสอบถามส่วนใหญ่จะมีอายุตั้งแต่ 18 - 21 ปีขึ้นไปโดยคิดเป็นร้อยละ 80 และอายุ 22-25 ปี โดยคิดเป็นร้อยละ 20 ของผู้ตอบแบบสอบถาม ตามลำดับ  ตารางที่ ตารางที่ 2.3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามจะพักอยู่ในเขตหอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ขามเรียงร้อยละ  20  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด หอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ในเมืองร้อยละ 40  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด และหอพักนอกมหาวิทยาลัยร้อยละ 40 ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด

ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอนของผู้ตอบแบบสอบถาม
          ตารางที่ 3 แสดงจำนวนร้อยละข้อมูลเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอนของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตารางที่ 3.1 แสดงร้อยละการเคยใช้หรือไม่เคยใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
ข้อมูลการใช้สื่อสังคม
ร้อยละ
เคยใช้
100
ไม่เคยใช้
0
รวม
100

ตารางที่ 3.2 แสดงร้อยละของการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอแต่ละประเภทของผู้ตอบแบบสอบถาม
ประเภทของโปรแกรม
จำนวน
ร้อยละ
Windows Movie Maker
4
14.28
Kate’s Video Toolkit
0
0
VSDC Free Video Editor
0
0
VirtualDub
4
14.28
Freemake Video Converter
2
7.14
PowerDirector
2
7.14
Final Cut Pro X (For Mac)
4
14.28
Adobe Premiere Pro
0
0
Lightworks
0
0
Avidemu
4
14.28
MPEG Streamclip
4
14.28
Free Video Dub
2
7.14
CyberLink      
0
0
Sony Vegas Pro 13
2
7.14
Corel VideoStudio Pro
0
0
รวม
28
100

ตารางที่ 3.3 แสดงร้อยละวัตถุประสงค์ของการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
วัตถุประสงค์หลักในการใช้งาน
จำนวน
ร้อยละ
มีรูปแบบในการนำเสนอได้หลายทาง
4
23.52
เป็นโปรแกรมที่ทำให้งานออกมามีประสิทธิภาพมากขึ้น
3
17.64
ใช้งานง่าย  ไม่ยุ่งยากซับซ้อน
3
17.64
สามารถตัดต่อวิดีโอแล้วมีประสิทธิภาพ
4
23.52
สามารถทำได้ด้วยตนเอง เพราะทำง่าย
1
5.88
อาจารย์เป็นคนแนะนำให้ใช้โปรแกรมตัดต่อวีดิโอ
2
11.76
รวม
17
100

จากตารางที่ 3.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จะเคยใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอโดยคิดเป็นร้อยละ 100  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด  จากตารางที่ 3.2 พบว่าโปรแกรมตัดต่อวีดีโอทีได้รับความนิยมที่สุดคือ  Windows Movie Maker โดยคิดเป็นร้อยละ 14.28  ของโปรแกรมตัดต่อวีดีโอทั้งหมดจากตารางที่ 3.3 พบว่าวัตถุประสงค์หลักส่วนใหญ่จะใช้สามารถตัดต่อวิดีโอแล้วมีประสิทธิภาพโดยคิดเป็นร้อยละ 23.52  ของวัตถุประสงค์หลักทั้งหมด

ส่วนที่ 3  ความพึงพอใจที่มีต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
เกณฑ์การให้คะแนนความพึงพอใจต่อกระบวนการการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 5 ระดับได้แก่
          มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ มากที่สุด             มีคะแนนเท่ากับ 5
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ มาก                  มีคะแนนเท่ากับ 4
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ ปานกลาง           มีคะแนนเท่ากับ 3
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ น้อย                 มีคะแนนเท่ากับ 2
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ น้อยที่สุด            มีคะแนนเท่ากับ 1

เกณฑ์การแปลความหมายความพึงพอใจต่อกระบวนการการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
เกณฑ์การแปลความหมายจากค่าเฉลี่ยซึ่งมีวิธีการแปลความหมายดังนี้
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00 – 1.50       หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.51 – 2.50      หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.51 – 3.50        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.51 – 4.50        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.51 – 5.00        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด



          ตารางที่ 4 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับความพึงพอใจที่มีต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
ตารางที่ 4.1แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานด้านการนำโปรแกรมตัดต่อวีดีโอไปใช้
หัวข้อ
ระดับความพึงพอใจ
ค่าเฉลี่ย
S.D.
ระดับความพึงพอใจ
1. เป็นโปรแกรมที่ง่ายต่อการใช้งาน
4.2
0.45
มาก
2. ช่วยให้ผู้รับฟังได้รู้และเข้าใจในงานนำเสนอจากโปรแกรมตัดต่อวีดิโอนี้ได้มากขึ้น
4.4
0.55
มาก
3. สะดวกต่อการใช้งาน
4.2
0.45
มาก
4. สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้หลายวิชา
4.2
0.45
มาก
5. สามารถนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.0
0.40
มาก
6. นำข้อมูลไปลงในเว็บไซต์ต่างๆ ได้สะดวก
4.0
0.40
มาก
7. สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
4.2
.0.45
มาก
เฉลี่ยโดยรวม
4.24
0.06
มาก
จากตารางที่ 4.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอด้านการใช้งานและด้านการนำโปรแกรมไปประยุกต์ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม อยู่ในระดับมากโดยคิดเป็นค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.24

ส่วนที่ 4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการนำโปรแกรมตัดต่อวีดีโอไปใช้ในการเรียนการสอน
          นำไปใช้ประโยชน์ได้มากพอสมควร แต่อยากให้มีการอบรมเพิ่มเติม
ผลการศึกษาของสาขาวิชาภาษาอังกฤษ
การศึกษาอิสระ
เรื่อง  โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอน    
ในการดำเนินการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ได้ดำเนินการโดยแจกแบบสอบถาม เรื่อง โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอน  ให้กับนิสิตสาขาวิชาภาษาอังกฤษ จำนวน  5 ชุด ( 5 คน) แต่ได้แบบสอบถามกลับคืนมา 5 ชุด โดยคิดเป็นร้อยละ ดังนี้
ตารางที่ 1 ตารางแสดงการแจกแบบสอบถามสำหรับวิชาภาษาอังกฤษ
แบบสอบถาม
จำนวนที่แจก (ฉบับบ)
จำนวนที่ได้รับ(ฉบับ)
ร้อยละ
แบบสอบถามสาวิชาสังคมศึกษา
5
5
100
ส่วนที่ 1  ข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถาม
          ตารางที่ 2 แสดงจำนวนร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามเพศ  อายุ ชั้นปี และที่พัก 2.1 จำแนกตามเพศ
เพศ
จำนวน (คน)
ร้อยละ
ชาย
3
60
หญิง
2
40
รวม
5
100
2.2 จำแนกตามอายุ
อายุ ปี
จำนวน (คน)
ร้อยละ
18-21  ปี
4
80
22-25  ปี
1
20
รวม
5
100
2.3 จำแนกตามที่พัก
ที่พัก
จำนวนคน
ร้อยละ
หอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ขามเรียง
1
20
หอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ในเมือง
2
40
หอพักนอกมหาวิทยาลัย
2
40
บ้านพักส่วนตัว
0
0
อื่นๆ………………………
0
0
รวม
5
100

จากตารางที่ 2.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเป็นผู้ชายโดยคิดเป็นร้อยละ 60 และผู้หญิงร้อยละ 40 ของผู้ตอบแบบสอบถาม  จากตาราง 2.2 พบว่าผู้ตอบแบสอบถามส่วนใหญ่จะมีอายุตั้งแต่ 18 - 21 ปีขึ้นไปโดยคิดเป็นร้อยละ 80 และอายุ 22-25 ปี โดยคิดเป็นร้อยละ 20 ของผู้ตอบแบบสอบถาม ตามลำดับ  ตารางที่ ตารางที่ 2.3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามจะพักอยู่ในเขตหอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ขามเรียงร้อยละ  20  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด หอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ในเมืองร้อยละ 40  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด และหอพักนอกมหาวิทยาลัยร้อยละ 40 ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด

ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอนของผู้ตอบแบบสอบถาม
          ตารางที่ 3 แสดงจำนวนร้อยละข้อมูลเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอนของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตารางที่ 3.1 แสดงร้อยละการเคยใช้หรือไม่เคยใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
ข้อมูลการใช้สื่อสังคม
ร้อยละ
เคยใช้
100
ไม่เคยใช้
0
รวม
100

ตารางที่ 3.2 แสดงร้อยละของการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอแต่ละประเภทของผู้ตอบแบบสอบถาม
ประเภทของโปรแกรม
จำนวน
ร้อยละ
Windows Movie Maker
3
12
Kate’s Video Toolkit
2
8
VSDC Free Video Editor
1
4
VirtualDub
0
0
Freemake Video Converter
1
4
PowerDirector
1
4
Final Cut Pro X (For Mac)
2
8
Adobe Premiere Pro
0
0
Lightworks
0
0
Avidemu
0
0
MPEG Streamclip
3
12
Free Video Dub
2
8
CyberLink      
4
16
Sony Vegas Pro 13
5
20
Corel VideoStudio Pro
1
4
รวม
25
100

ตารางที่ 3.3 แสดงร้อยละวัตถุประสงค์ของการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
วัตถุประสงค์หลักในการใช้งาน
จำนวน
ร้อยละ
มีรูปแบบในการนำเสนอได้หลายทาง
3
21.42
เป็นโปรแกรมที่ทำให้งานออกมามีประสิทธิภาพมากขึ้น
1
7.14
ใช้งานง่าย  ไม่ยุ่งยากซับซ้อน
2
14.28
สามารถตัดต่อวิดีโอแล้วมีประสิทธิภาพ
5
35.71
สามารถทำได้ด้วยตนเอง เพราะทำง่าย
1
7.14
อาจารย์เป็นคนแนะนำให้ใช้โปรแกรมตัดต่อวีดิโอ
2
14.28
รวม
14
100

จากตารางที่ 3.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จะเคยใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอโดยคิดเป็นร้อยละ 100  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด  จากตารางที่ 3.2 พบว่าโปรแกรมตัดต่อวีดีโอทีได้รับความนิยมที่สุดคือ  Sony Vegas Pro 13 โดยคิดเป็นร้อยละ 20  ของโปรแกรมตัดต่อวีดีโอทั้งหมดจากตารางที่ 3.3 พบว่าวัตถุประสงค์หลักส่วนใหญ่จะใช้สามารถตัดต่อวิดีโอแล้วมีประสิทธิภาพโดยคิดเป็นร้อยละ 35.71 ของวัตถุประสงค์หลักทั้งหมด

ส่วนที่ 3  ความพึงพอใจที่มีต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
เกณฑ์การให้คะแนนความพึงพอใจต่อกระบวนการการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 5 ระดับได้แก่
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ มากที่สุด             มีคะแนนเท่ากับ 5
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ มาก                  มีคะแนนเท่ากับ 4
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ ปานกลาง           มีคะแนนเท่ากับ 3
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ น้อย                 มีคะแนนเท่ากับ 2
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ น้อยที่สุด            มีคะแนนเท่ากับ 1

เกณฑ์การแปลความหมายความพึงพอใจต่อกระบวนการการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
เกณฑ์การแปลความหมายจากค่าเฉลี่ยซึ่งมีวิธีการแปลความหมายดังนี้
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00 – 1.50       หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.51 – 2.50      หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.51 – 3.50        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.51 – 4.50        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.51 – 5.00        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด



          ตารางที่ 4 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับความพึงพอใจที่มีต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
ตารางที่ 4.1แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานด้านการนำโปรแกรมตัดต่อวีดีโอไปใช้
หัวข้อ
ระดับความพึงพอใจ
ค่าเฉลี่ย
S.D.
ระดับความพึงพอใจ
1. เป็นโปรแกรมที่ง่ายต่อการใช้งาน
4.4
0.55
มาก
2. ช่วยให้ผู้รับฟังได้รู้และเข้าใจในงานนำเสนอจากโปรแกรมตัดต่อวีดิโอนี้ได้มากขึ้น
4.4
0.55
มาก
3. สะดวกต่อการใช้งาน
4.2
0.45
มาก
4. สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้หลายวิชา
4.2
0.45
มาก
5. สามารถนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.4
0.55
มาก
6. นำข้อมูลไปลงในเว็บไซต์ต่างๆ ได้สะดวก
3.8
0.35
มาก
7. สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
3.8
0.35
มาก
เฉลี่ยโดยรวม
4.27
0.06
มาก
จากตารางที่ 4.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอด้านการใช้งานและด้านการนำโปรแกรมไปประยุกต์ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม อยู่ในระดับมากโดยคิดเป็นค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.27

ส่วนที่ 4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการนำโปรแกรมตัดต่อวีดีโอไปใช้ในการเรียนการสอน
          นำไปใช้ประโยชน์ได้มากพอสมควร แต่ค่อนข้างทำยาก
ผลการศึกษาของสาขาวิชาภาษาไทย
การศึกษาอิสระ
เรื่อง  โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอน    
ในการดำเนินการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ได้ดำเนินการโดยแจกแบบสอบถาม เรื่อง โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอน  ให้กับนิสิตสาขาภาษาไทย จำนวน 5 ชุด (5 คน) แต่ได้แบบสอบถามกลับคืนมา 5 ชุด โดยคิดเป็นร้อยละ ดังนี้
ตารางที่ 1 ตารางแสดงการแจกแบบสอบถามสำหรับสาขาวิชาภาษาไทย
แบบสอบถาม
จำนวนที่แจก (ฉบับบ)
จำนวนที่ได้รับ(ฉบับ)
ร้อยละ
แบบสอบถามสาวิชาสังคมศึกษา
5
5
100

ส่วนที่ 1  ข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถาม
          ตารางที่ 2 แสดงจำนวนร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามเพศ  อายุ ชั้นปี และที่พัก 2.1 จำแนกตามเพศ
เพศ
จำนวน (คน)
ร้อยละ
ชาย
1
20
หญิง
4
80
รวม
5
100
2.2 จำแนกตามอายุ
อายุ ปี
จำนวน (คน)
ร้อยละ
18-21  ปี
4
80
22-25  ปี
1
20
รวม
5
100
2.3 จำแนกตามที่พัก
ที่พัก
จำนวนคน
ร้อยละ
หอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ขามเรียง
2
40
หอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ในเมือง
1
20
หอพักนอกมหาวิทยาลัย
2
40
บ้านพักส่วนตัว
0
0
อื่นๆ………………………
0
0
รวม
5
100

จากตารางที่ 2.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเป็นผู้ชายโดยคิดเป็นร้อยละ 40 และผู้หญิงร้อยละ 60 ของผู้ตอบแบบสอบถาม  จากตาราง 2.2 พบว่าผู้ตอบแบสอบถามส่วนใหญ่จะมีอายุตั้งแต่ 18 - 21 ปีขึ้นไปโดยคิดเป็นร้อยละ 80 และอายุ 22-25 ปี โดยคิดเป็นร้อยละ 20 ของผู้ตอบแบบสอบถาม ตามลำดับ  ตารางที่ ตารางที่ 2.3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามจะพักอยู่ในเขตหอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ขามเรียงร้อยละ  40  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด หอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ในเมืองร้อยละ 20  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด และหอพักนอกมหาวิทยาลัยร้อยละ 40 ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด

ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอนของผู้ตอบแบบสอบถาม
          ตารางที่ 3 แสดงจำนวนร้อยละข้อมูลเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอนของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตารางที่ 3.1 แสดงร้อยละการเคยใช้หรือไม่เคยใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
ข้อมูลการใช้สื่อสังคม
ร้อยละ
เคยใช้
100
ไม่เคยใช้
0
รวม
100

ตารางที่ 3.2 แสดงร้อยละของการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอแต่ละประเภทของผู้ตอบแบบสอบถาม
ประเภทของโปรแกรม
จำนวน
ร้อยละ
Windows Movie Maker
2
14.28
Kate’s Video Toolkit
2
14.28
VSDC Free Video Editor
0
0
VirtualDub
0
0
Freemake Video Converter
1
7.14
PowerDirector
0
0
Final Cut Pro X (For Mac)
0
0
Adobe Premiere Pro
1
7.14
Lightworks
0
0
Avidemu
3
21.42
MPEG Streamclip
1
7.14
Free Video Dub
0
0
CyberLink      
0
0
Sony Vegas Pro 13
1
7.14
Corel VideoStudio Pro
3
21.42
รวม
14
100

ตารางที่ 3.3 แสดงร้อยละวัตถุประสงค์ของการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
วัตถุประสงค์หลักในการใช้งาน
จำนวน
ร้อยละ
มีรูปแบบในการนำเสนอได้หลายทาง
3
17.64
เป็นโปรแกรมที่ทำให้งานออกมามีประสิทธิภาพมากขึ้น
4
23.52
ใช้งานง่าย  ไม่ยุ่งยากซับซ้อน
1
5.88
สามารถตัดต่อวิดีโอแล้วมีประสิทธิภาพ
4
23.52
สามารถทำได้ด้วยตนเอง เพราะทำง่าย
3
17.64
อาจารย์เป็นคนแนะนำให้ใช้โปรแกรมตัดต่อวีดิโอ
2
11.76
รวม
17
100

จากตารางที่ 3.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จะเคยใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอโดยคิดเป็นร้อยละ 100  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด  จากตารางที่ 3.2 พบว่าโปรแกรมตัดต่อวีดีโอทีได้รับความนิยมที่สุดคือ  Avidemu และ Corel VideoStudio Pro โดยคิดเป็นร้อยละ 21.42  ของโปรแกรมตัดต่อวีดีโอทั้งหมดจากตารางที่ 3.3 พบว่าวัตถุประสงค์หลักส่วนใหญ่จะใช้สามารถตัดต่อวิดีโอแล้วมีประสิทธิภาพ และ เป็นโปรแกรมที่ทำให้งานออกมามีประสิทธิภาพมากขึ้นโดยคิดเป็นร้อยละ 23.52 ของวัตถุประสงค์หลักทั้งหมด

ส่วนที่ 3  ความพึงพอใจที่มีต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
เกณฑ์การให้คะแนนความพึงพอใจต่อกระบวนการการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 5 ระดับได้แก่
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ มากที่สุด             มีคะแนนเท่ากับ 5
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ มาก                  มีคะแนนเท่ากับ 4
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ ปานกลาง           มีคะแนนเท่ากับ 3
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ น้อย                 มีคะแนนเท่ากับ 2
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ น้อยที่สุด            มีคะแนนเท่ากับ 1

เกณฑ์การแปลความหมายความพึงพอใจต่อกระบวนการการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
เกณฑ์การแปลความหมายจากค่าเฉลี่ยซึ่งมีวิธีการแปลความหมายดังนี้
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00 – 1.50       หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.51 – 2.50      หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.51 – 3.50        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.51 – 4.50        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.51 – 5.00        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด



          ตารางที่ 4 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับความพึงพอใจที่มีต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
ตารางที่ 4.1แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานด้านการนำโปรแกรมตัดต่อวีดีโอไปใช้
หัวข้อ
ระดับความพึงพอใจ
ค่าเฉลี่ย
S.D.
ระดับความพึงพอใจ
1. เป็นโปรแกรมที่ง่ายต่อการใช้งาน
4.0
0.4
มาก
2. ช่วยให้ผู้รับฟังได้รู้และเข้าใจในงานนำเสนอจากโปรแกรมตัดต่อวีดิโอนี้ได้มากขึ้น
4.4
0.55
มาก
3. สะดวกต่อการใช้งาน
4.0
0.40
มาก
4. สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้หลายวิชา
4.0
0.40
มาก
5. สามารถนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2
0.45
มาก
6. นำข้อมูลไปลงในเว็บไซต์ต่างๆ ได้สะดวก
4.0
0.40
มาก
7. สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
4.4
0.55
มาก
เฉลี่ยโดยรวม
4.29
0.08
มาก
จากตารางที่ 4.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอด้านการใช้งานและด้านการนำโปรแกรมไปประยุกต์ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม อยู่ในระดับมากโดยคิดเป็นค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.29

ส่วนที่ 4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการนำโปรแกรมตัดต่อวีดีโอไปใช้ในการเรียนการสอน
          ใช้ในการนำเสนองาน ทำให้งานไม่น่าเบื่อ
ผลการศึกษาของสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป
การศึกษาอิสระ
เรื่อง  โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอน    
ในการดำเนินการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ได้ดำเนินการโดยแจกแบบสอบถาม เรื่อง โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอน  ให้กับนิสิตสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป จำนวน 5 ชุด (5 คน) แต่ได้แบบสอบถามกลับคืนมา 5 ชุด โดยคิดเป็นร้อยละ ดังนี้
ตารางที่ 1 ตารางแสดงการแจกแบบสอบถามสำหรับสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป
แบบสอบถาม
จำนวนที่แจก (ฉบับบ)
จำนวนที่ได้รับ(ฉบับ)
ร้อยละ
แบบสอบถามสาวิชาสังคมศึกษา
5
5
100

ส่วนที่ 1  ข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถาม
          ตารางที่ 2 แสดงจำนวนร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามเพศ  อายุ ชั้นปี และที่พัก 2.1 จำแนกตามเพศ
เพศ
จำนวน (คน)
ร้อยละ
ชาย
1
20
หญิง
4
80
รวม
5
100
2.2 จำแนกตามอายุ
อายุ ปี
จำนวน (คน)
ร้อยละ
18-21  ปี
3
60
22-25  ปี
2
40
รวม
5
100
2.3 จำแนกตามที่พัก
ที่พัก
จำนวนคน
ร้อยละ
หอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ขามเรียง
0
0
หอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ในเมือง
0
0
หอพักนอกมหาวิทยาลัย
5
100
บ้านพักส่วนตัว
0
0
อื่นๆ………………………
0
0
รวม
5
100

จากตารางที่ 2.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเป็นผู้ชายโดยคิดเป็นร้อยละ 20 และผู้หญิงร้อยละ 80 ของผู้ตอบแบบสอบถาม  จากตาราง 2.2 พบว่าผู้ตอบแบสอบถามส่วนใหญ่จะมีอายุตั้งแต่ 18 - 21 ปีขึ้นไปโดยคิดเป็นร้อยละ 60 และอายุ 22-25 ปี โดยคิดเป็นร้อยละ 40 ของผู้ตอบแบบสอบถาม ตามลำดับ  ตารางที่ ตารางที่ 2.3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามจะพักอยู่ในหอพักนอกมหาวิทยาลัยร้อยละ 100 ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด

ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอนของผู้ตอบแบบสอบถาม
          ตารางที่ 3 แสดงจำนวนร้อยละข้อมูลเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอนของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตารางที่ 3.1 แสดงร้อยละการเคยใช้หรือไม่เคยใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
ข้อมูลการใช้สื่อสังคม
ร้อยละ
เคยใช้
100
ไม่เคยใช้
0
รวม
100

ตารางที่ 3.2 แสดงร้อยละของการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอแต่ละประเภทของผู้ตอบแบบสอบถาม
ประเภทของโปรแกรม
จำนวน
ร้อยละ
Windows Movie Maker
2
11.11
Kate’s Video Toolkit
0
0
VSDC Free Video Editor
0
0
VirtualDub
2
11.11
Freemake Video Converter
2
11.11
PowerDirector
1
5.55
Final Cut Pro X (For Mac)
0
0
Adobe Premiere Pro
1
5.55
Lightworks
1
5.55
Avidemu
2
11.11
MPEG Streamclip
4
22.22
Free Video Dub
2
11.11
CyberLink      
0
0
Sony Vegas Pro 13
1
5.55
Corel VideoStudio Pro
0
0
รวม
18
100

ตารางที่ 3.3 แสดงร้อยละวัตถุประสงค์ของการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
วัตถุประสงค์หลักในการใช้งาน
จำนวน
ร้อยละ
มีรูปแบบในการนำเสนอได้หลายทาง
2
16.66
เป็นโปรแกรมที่ทำให้งานออกมามีประสิทธิภาพมากขึ้น
4
33.33
ใช้งานง่าย  ไม่ยุ่งยากซับซ้อน
3
25
สามารถตัดต่อวิดีโอแล้วมีประสิทธิภาพ
2
16.66
สามารถทำได้ด้วยตนเอง เพราะทำง่าย
1
8.33
อาจารย์เป็นคนแนะนำให้ใช้โปรแกรมตัดต่อวีดิโอ
0
0
รวม
12
100

จากตารางที่ 3.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จะเคยใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอโดยคิดเป็นร้อยละ 100  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด  จากตารางที่ 3.2 พบว่าโปรแกรมตัดต่อวีดีโอทีได้รับความนิยมที่สุดคือ  MPEG Streamclip โดยคิดเป็นร้อยละ 22.22  ของโปรแกรมตัดต่อวีดีโอทั้งหมดจากตารางที่ 3.3 พบว่าวัตถุประสงค์หลักส่วนใหญ่จะใช้โปรแกรมที่ทำให้งานออกมามีประสิทธิภาพมากขึ้นโดยคิดเป็นร้อยละ 33.33ของวัตถุประสงค์หลักทั้งหมด

ส่วนที่ 3  ความพึงพอใจที่มีต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
เกณฑ์การให้คะแนนความพึงพอใจต่อกระบวนการการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 5 ระดับได้แก่
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ มากที่สุด             มีคะแนนเท่ากับ 5
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ มาก                  มีคะแนนเท่ากับ 4
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ ปานกลาง           มีคะแนนเท่ากับ 3
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ น้อย                 มีคะแนนเท่ากับ 2
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ น้อยที่สุด            มีคะแนนเท่ากับ 1

เกณฑ์การแปลความหมายความพึงพอใจต่อกระบวนการการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
เกณฑ์การแปลความหมายจากค่าเฉลี่ยซึ่งมีวิธีการแปลความหมายดังนี้
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00 – 1.50       หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.51 – 2.50      หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.51 – 3.50        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.51 – 4.50        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.51 – 5.00        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด



          ตารางที่ 4 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับความพึงพอใจที่มีต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
ตารางที่ 4.1แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานด้านการนำโปรแกรมตัดต่อวีดีโอไปใช้
หัวข้อ
ระดับความพึงพอใจ
ค่าเฉลี่ย
S.D.
ระดับความพึงพอใจ
1. เป็นโปรแกรมที่ง่ายต่อการใช้งาน
4.2
0.45
มาก
2. ช่วยให้ผู้รับฟังได้รู้และเข้าใจในงานนำเสนอจากโปรแกรมตัดต่อวีดิโอนี้ได้มากขึ้น
4.2
0.55
มาก
3. สะดวกต่อการใช้งาน
4.0
0.40
มาก
4. สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้หลายวิชา
4.2
0.45
มาก
5. สามารถนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.4
0.45
มาก
6. นำข้อมูลไปลงในเว็บไซต์ต่างๆ ได้สะดวก
4.0
0.40
มาก
7. สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
4.0
0.40
มาก
เฉลี่ยโดยรวม
4.17
0.06
มาก
จากตารางที่ 4.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอด้านการใช้งานและด้านการนำโปรแกรมไปประยุกต์ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม อยู่ในระดับมากโดยคิดเป็นค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.17

ส่วนที่ 4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการนำโปรแกรมตัดต่อวีดีโอไปใช้ในการเรียนการสอน
          นำไปใช้ประโยชน์ได้มากพอสมควร สามารถสร้างสื่อการเรียนการสอนได้
ผลการศึกษาของสาขาวิชาการศึกษาพิเศษ
การศึกษาอิสระ
เรื่อง  โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอน    
ในการดำเนินการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ได้ดำเนินการโดยแจกแบบสอบถาม เรื่อง โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอน  ให้กับนิสิตสาขาการศึกษาพิเศษ จำนวน 5 ชุด (5 คน) แต่ได้แบบสอบถามกลับคืนมา 5 ชุด โดยคิดเป็นร้อยละ ดังนี้
ตารางที่ 1 ตารางแสดงการแจกแบบสอบถามสำหรับสาขาวิชาการศึกษาพิเศษ
แบบสอบถาม
จำนวนที่แจก (ฉบับบ)
จำนวนที่ได้รับ(ฉบับ)
ร้อยละ
แบบสอบถามสาวิชาสังคมศึกษา
5
5
100

ส่วนที่ 1  ข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถาม
          ตารางที่ 2 แสดงจำนวนร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามเพศ  อายุ ชั้นปี และที่พัก 2.1 จำแนกตามเพศ
เพศ
จำนวน (คน)
ร้อยละ
ชาย
3
60
หญิง
2
40
รวม
5
100
2.2 จำแนกตามอายุ
อายุ ปี
จำนวน (คน)
ร้อยละ
18-21  ปี
3
60
22-25  ปี
2
40
รวม
5
100
2.3 จำแนกตามที่พัก
ที่พัก
จำนวนคน
ร้อยละ
หอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ขามเรียง
1
20
หอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ในเมือง
2
40
หอพักนอกมหาวิทยาลัย
2
40
บ้านพักส่วนตัว
0
0
อื่นๆ………………………
0
0
รวม
5
100

จากตารางที่ 2.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเป็นผู้ชายโดยคิดเป็นร้อยละ 60 และผู้หญิงร้อยละ 40 ของผู้ตอบแบบสอบถาม  จากตาราง 2.2 พบว่าผู้ตอบแบสอบถามส่วนใหญ่จะมีอายุตั้งแต่ 18 - 21 ปีขึ้นไปโดยคิดเป็นร้อยละ 60 และอายุ 22-25 ปี โดยคิดเป็นร้อยละ 40 ของผู้ตอบแบบสอบถาม ตามลำดับ  ตารางที่ ตารางที่ 2.3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามจะพักอยู่ในเขตหอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ขามเรียงร้อยละ  20  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด หอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ในเมืองร้อยละ 40  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด และหอพักนอกมหาวิทยาลัยร้อยละ 40 ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด

ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีเพื่อการเรียนการสอนของผู้ตอบแบบสอบถาม
          ตารางที่ 3 แสดงจำนวนร้อยละข้อมูลเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอนของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตารางที่ 3.1 แสดงร้อยละการเคยใช้หรือไม่เคยใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
ข้อมูลการใช้สื่อสังคม
ร้อยละ
เคยใช้
100
ไม่เคยใช้
0
รวม
100

ตารางที่ 3.2 แสดงร้อยละของการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอแต่ละประเภทของผู้ตอบแบบสอบถาม
ประเภทของโปรแกรม
จำนวน
ร้อยละ
Windows Movie Maker
3
12.5
Kate’s Video Toolkit
2
8.33
VSDC Free Video Editor
1
4.16
VirtualDub
1
4.16
Freemake Video Converter
0
0
PowerDirector
3
12.5
Final Cut Pro X (For Mac)
2
8.33
Adobe Premiere Pro
4
16.66
Lightworks
0
0
Avidemu
0
0
MPEG Streamclip
1
4.16
Free Video Dub
0
0
CyberLink      
3
12.5
Sony Vegas Pro 13
2
8.33
Corel VideoStudio Pro
2
8.33
รวม
24
100

ตารางที่ 3.3 แสดงร้อยละวัตถุประสงค์ของการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
วัตถุประสงค์หลักในการใช้งาน
จำนวน
ร้อยละ
มีรูปแบบในการนำเสนอได้หลายทาง
2
11.76
เป็นโปรแกรมที่ทำให้งานออกมามีประสิทธิภาพมากขึ้น
4
23.52
ใช้งานง่าย  ไม่ยุ่งยากซับซ้อน
3
17.64
สามารถตัดต่อวิดีโอแล้วมีประสิทธิภาพ
3
17.64
สามารถทำได้ด้วยตนเอง เพราะทำง่าย
2
11.76
อาจารย์เป็นคนแนะนำให้ใช้โปรแกรมตัดต่อวีดิโอ
2
11.76
รวม
17


จากตารางที่ 3.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จะเคยใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอโดยคิดเป็นร้อยละ 100  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด  จากตารางที่ 3.2 พบว่าโปรแกรมตัดต่อวีดีโอทีได้รับความนิยมที่สุดคือ  Adobe Premiere Pro โดยคิดเป็นร้อยละ 16.66  ของโปรแกรมตัดต่อวีดีโอทั้งหมดจากตารางที่ 3.3 พบว่าวัตถุประสงค์หลักส่วนใหญ่จะใช้โปรแกรมที่ทำให้งานออกมามีประสิทธิภาพมากขึ้นโดยคิดเป็นร้อยละ 23.52ของวัตถุประสงค์หลักทั้งหมด

ส่วนที่ 3  ความพึงพอใจที่มีต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
เกณฑ์การให้คะแนนความพึงพอใจต่อกระบวนการการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 5 ระดับได้แก่
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ มากที่สุด             มีคะแนนเท่ากับ 5
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ มาก                  มีคะแนนเท่ากับ 4
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ ปานกลาง           มีคะแนนเท่ากับ 3
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ น้อย                 มีคะแนนเท่ากับ 2
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ น้อยที่สุด            มีคะแนนเท่ากับ 1

เกณฑ์การแปลความหมายความพึงพอใจต่อกระบวนการการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
เกณฑ์การแปลความหมายจากค่าเฉลี่ยซึ่งมีวิธีการแปลความหมายดังนี้
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00 – 1.50       หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.51 – 2.50      หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.51 – 3.50        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.51 – 4.50        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.51 – 5.00        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด



          ตารางที่ 4 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับความพึงพอใจที่มีต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
ตารางที่ 4.1แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานด้านการนำโปรแกรมตัดต่อวีดีโอไปใช้
หัวข้อ
ระดับความพึงพอใจ
ค่าเฉลี่ย
S.D.
ระดับความพึงพอใจ
1. เป็นโปรแกรมที่ง่ายต่อการใช้งาน
4.4
0.55
มาก
2. ช่วยให้ผู้รับฟังได้รู้และเข้าใจในงานนำเสนอจากโปรแกรมตัดต่อวีดิโอนี้ได้มากขึ้น
4.4
0.55
มาก
3. สะดวกต่อการใช้งาน
4.2
0.45
มาก
4. สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้หลายวิชา
4.2
0.45
มาก
5. สามารถนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.4
0.55
มาก
6. นำข้อมูลไปลงในเว็บไซต์ต่างๆ ได้สะดวก
4.4
.0.55
มาก
7. สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
4.0
.0.40
มาก
เฉลี่ยโดยรวม
4.19
0.07
มาก
จากตารางที่ 4.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอด้านการใช้งานและด้านการนำโปรแกรมไปประยุกต์ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม อยู่ในระดับมากโดยคิดเป็นค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.19

ส่วนที่ 4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการนำโปรแกรมตัดต่อวีดีโอไปใช้ในการเรียนการสอน
           สามารถสร้างสื่อการเรียนการสอนได้ และสามารถสร้างเป็นรายได้ให้กับตัวเอง
ผลการศึกษาของสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
การศึกษาอิสระ
เรื่อง  โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอน    
ในการดำเนินการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ได้ดำเนินการโดยแจกแบบสอบถาม เรื่อง โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอน  ให้กับนิสิตสาขาการศึกษาปฐมวัย จำนวน 5 ชุด ( 5 คน) แต่ได้แบบสอบถามกลับคืนมา 5 ชุด โดยคิดเป็นร้อยละ ดังนี้
ตารางที่ 1 ตารางแสดงการแจกแบบสอบถามสำหรับสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
แบบสอบถาม
จำนวนที่แจก (ฉบับบ)
จำนวนที่ได้รับ(ฉบับ)
ร้อยละ
แบบสอบถามสาวิชาสังคมศึกษา
5
5
100

ส่วนที่ 1  ข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถาม
          ตารางที่ 2 แสดงจำนวนร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามเพศ  อายุ ชั้นปี และที่พัก 2.1 จำแนกตามเพศ
เพศ
จำนวน (คน)
ร้อยละ
ชาย
0
0
หญิง
5
100
รวม
5
100
2.2 จำแนกตามอายุ
อายุ ปี
จำนวน (คน)
ร้อยละ
18-21  ปี
5
100
22-25  ปี
0
0
รวม
5
100
2.3 จำแนกตามที่พัก
ที่พัก
จำนวนคน
ร้อยละ
หอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ขามเรียง
0
0
หอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ในเมือง
5
100
หอพักนอกมหาวิทยาลัย
0
0
บ้านพักส่วนตัว
0
0
อื่นๆ………………………
0
0
รวม
5
100
จากตารางที่ 2.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมดเป็นผู้หญิงร้อยละ 100 ของผู้ตอบแบบสอบถาม  จากตาราง 2.2 พบว่าผู้ตอบแบสอบถามส่วนใหญ่จะมีอายุตั้งแต่ 18 - 21 ปีขึ้นไปโดยคิดเป็นร้อยละ 100 ตารางที่ ตารางที่ 2.3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามจะพักอยู่ในเขตหอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ในเมืองร้อยละ 100  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด

ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอนของผู้ตอบแบบสอบถาม
          ตารางที่ 3 แสดงจำนวนร้อยละข้อมูลเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอนของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตารางที่ 3.1 แสดงร้อยละการเคยใช้หรือไม่เคยใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
ข้อมูลการใช้สื่อสังคม
ร้อยละ
เคยใช้
100
ไม่เคยใช้
0
รวม
100

ตารางที่ 3.2 แสดงร้อยละของการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอแต่ละประเภทของผู้ตอบแบบสอบถาม
ประเภทของโปรแกรม
จำนวน
ร้อยละ
Windows Movie Maker
1
5.55
Kate’s Video Toolkit
1
5.55
VSDC Free Video Editor
1
5.55
VirtualDub
0
0
Freemake Video Converter
2
11.11
PowerDirector
3
16.66
Final Cut Pro X (For Mac)
0
0
Adobe Premiere Pro
0
0
Lightworks
2
11.11
Avidemu
1
5.55
MPEG Streamclip
3
16.66
Free Video Dub
0
0
CyberLink      
1
5.55
Sony Vegas Pro 13
3
16.66
Corel VideoStudio Pro
0
0
รวม
18
100
ตารางที่ 3.3 แสดงร้อยละวัตถุประสงค์ของการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
วัตถุประสงค์หลักในการใช้งาน
จำนวน
ร้อยละ
มีรูปแบบในการนำเสนอได้หลายทาง
2
11.76
เป็นโปรแกรมที่ทำให้งานออกมามีประสิทธิภาพมากขึ้น
3
17.64
ใช้งานง่าย  ไม่ยุ่งยากซับซ้อน
3
17.64
สามารถตัดต่อวิดีโอแล้วมีประสิทธิภาพ
3
17.64
สามารถทำได้ด้วยตนเอง เพราะทำง่าย
4
23.52
อาจารย์เป็นคนแนะนำให้ใช้โปรแกรมตัดต่อวีดิโอ
2
11.76
รวม
17
100

จากตารางที่ 3.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จะเคยใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอโดยคิดเป็นร้อยละ 100  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด  จากตารางที่ 3.2 พบว่าโปรแกรมตัดต่อวีดีโอทีได้รับความนิยมที่สุดคือ  PowerDirector โดยคิดเป็นร้อยละ 16.66  ของโปรแกรมตัดต่อวีดีโอทั้งหมดจากตารางที่ 3.3 พบว่าวัตถุประสงค์หลักส่วนใหญ่จะใช้สามารถทำได้ด้วยตนเอง เพราะทำง่ายโดยคิดเป็นร้อยละ 23.52ของวัตถุประสงค์หลักทั้งหมด


ส่วนที่ 3  ความพึงพอใจที่มีต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
เกณฑ์การให้คะแนนความพึงพอใจต่อกระบวนการการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 5 ระดับได้แก่
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ มากที่สุด             มีคะแนนเท่ากับ 5
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ มาก                  มีคะแนนเท่ากับ 4
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ ปานกลาง           มีคะแนนเท่ากับ 3
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ น้อย                 มีคะแนนเท่ากับ 2
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ น้อยที่สุด            มีคะแนนเท่ากับ 1

เกณฑ์การแปลความหมายความพึงพอใจต่อกระบวนการการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
เกณฑ์การแปลความหมายจากค่าเฉลี่ยซึ่งมีวิธีการแปลความหมายดังนี้
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00 – 1.50       หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.51 – 2.50      หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.51 – 3.50        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.51 – 4.50        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.51 – 5.00        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด



          ตารางที่ 4 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับความพึงพอใจที่มีต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
ตารางที่ 4.1แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานด้านการนำโปรแกรมตัดต่อวีดีโอไปใช้
หัวข้อ
ระดับความพึงพอใจ
ค่าเฉลี่ย
S.D.
ระดับความพึงพอใจ
1. เป็นโปรแกรมที่ง่ายต่อการใช้งาน
4.0
0.40
มาก
2. ช่วยให้ผู้รับฟังได้รู้และเข้าใจในงานนำเสนอจากโปรแกรมตัดต่อวีดิโอนี้ได้มากขึ้น
4.4
0.55
มาก
3. สะดวกต่อการใช้งาน
3.0
0.28
ปานกลาง
4. สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้หลายวิชา
4.2
0.45
มาก
5. สามารถนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.4
0.55
มาก
6. นำข้อมูลไปลงในเว็บไซต์ต่างๆ ได้สะดวก
4.2
0.45
มาก
7. สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
4.2
0.45
มาก
เฉลี่ยโดยรวม
4.09
0.04
มาก
จากตารางที่ 4.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอด้านการใช้งานและด้านการนำโปรแกรมไปประยุกต์ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม อยู่ในระดับมากโดยคิดเป็นค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.09

ส่วนที่ 4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการนำโปรแกรมตัดต่อวีดีโอไปใช้ในการเรียนการสอน
           สามารถสร้างสื่อการเรียนการสอนได้ ทำให้น่าสนใจมากขึ้น
ผลการศึกษาของสาขาจิตวิทยา
การศึกษาอิสระ
เรื่อง  โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอน    
ในการดำเนินการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ได้ดำเนินการโดยแจกแบบสอบถาม เรื่อง โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอน  ให้กับนิสิตสาขาจิตวิทยา จำนวน 10 ชุด (10 คน) แต่ได้แบบสอบถามกลับคืนมา 10 ชุด โดยคิดเป็นร้อยละ ดังนี้
ตารางที่ 1 ตารางแสดงการแจกแบบสอบถามสำหรับสาขาวิชาสังคมศึกษา
แบบสอบถาม
จำนวนที่แจก (ฉบับบ)
จำนวนที่ได้รับ(ฉบับ)
ร้อยละ
แบบสอบถามสาวิชาสังคมศึกษา
10
10
100

ส่วนที่ 1  ข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถาม
          ตารางที่ 2 แสดงจำนวนร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามเพศ  อายุ ชั้นปี และที่พัก 2.1 จำแนกตามเพศ
เพศ
จำนวน (คน)
ร้อยละ
ชาย
3
30
หญิง
7
70
รวม
10
100
2.2 จำแนกตามอายุ
อายุ ปี
จำนวน (คน)
ร้อยละ
18-21  ปี
7
70
22-25  ปี
3
30
รวม
10
100
2.3 จำแนกตามที่พัก
ที่พัก
จำนวนคน
ร้อยละ
หอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ขามเรียง
2
20
หอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ในเมือง
3
30
หอพักนอกมหาวิทยาลัย
5
50
บ้านพักส่วนตัว
0
0
อื่นๆ………………………
0
0
รวม
5
100
จากตารางที่ 2.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเป็นผู้ชายโดยคิดเป็นร้อยละ 30 และผู้หญิงร้อยละ 70 ของผู้ตอบแบบสอบถาม  จากตาราง 2.2 พบว่าผู้ตอบแบสอบถามส่วนใหญ่จะมีอายุตั้งแต่ 18 - 21 ปีขึ้นไปโดยคิดเป็นร้อยละ 70 และอายุ 22-25 ปี โดยคิดเป็นร้อยละ 30 ของผู้ตอบแบบสอบถาม ตามลำดับ  ตารางที่ ตารางที่ 2.3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามจะพักอยู่ในเขตหอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ขามเรียงร้อยละ  10  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด หอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ในเมืองร้อยละ 30  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด และหอพักนอกมหาวิทยาลัยร้อยละ 50 ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด

ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอนของผู้ตอบแบบสอบถาม
          ตารางที่ 3 แสดงจำนวนร้อยละข้อมูลเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอนของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตารางที่ 3.1 แสดงร้อยละการเคยใช้หรือไม่เคยใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
ข้อมูลการใช้สื่อสังคม
ร้อยละ
เคยใช้
100
ไม่เคยใช้
0
รวม
100

ตารางที่ 3.2 แสดงร้อยละของการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอแต่ละประเภทของผู้ตอบแบบสอบถาม
ประเภทของโปรแกรม
จำนวน
ร้อยละ
Windows Movie Maker
6
24
Kate’s Video Toolkit
2
8
VSDC Free Video Editor
1
4
VirtualDub
1
4
Freemake Video Converter
3
13
PowerDirector
1
4
Final Cut Pro X (For Mac)
0
0
Adobe Premiere Pro
1
4
Lightworks
2
8
Avidemu
0
0
MPEG Streamclip
1
4
Free Video Dub
0
0
CyberLink      
1
4
Sony Vegas Pro 13
5
20
Corel VideoStudio Pro
1
4
รวม
25
100

ตารางที่ 3.3 แสดงร้อยละวัตถุประสงค์ของการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
วัตถุประสงค์หลักในการใช้งาน
จำนวน
ร้อยละ
มีรูปแบบในการนำเสนอได้หลายทาง
3
18.75
เป็นโปรแกรมที่ทำให้งานออกมามีประสิทธิภาพมากขึ้น
3
18.75
ใช้งานง่าย  ไม่ยุ่งยากซับซ้อน
3
18.75
สามารถตัดต่อวิดีโอแล้วมีประสิทธิภาพ
3
18.75
สามารถทำได้ด้วยตนเอง เพราะทำง่าย
3
18.75
อาจารย์เป็นคนแนะนำให้ใช้โปรแกรมตัดต่อวีดิโอ
1
6.25
รวม
16
100

จากตารางที่ 3.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จะเคยใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอโดยคิดเป็นร้อยละ 100  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด  จากตารางที่ 3.2 พบว่าโปรแกรมตัดต่อวีดีโอทีได้รับความนิยมที่สุดคือ  Windows Movie Maker  โดยคิดเป็นร้อยละ 24  ของโปรแกรมตัดต่อวีดีโอทั้งหมดจากตารางที่ 3.3 พบว่าวัตถุประสงค์หลักส่วนใหญ่จะใช้เลือกทุกข้อโดยคิดเป็นร้อยละ 18.75 ของวัตถุประสงค์หลักทั้งหมด

ส่วนที่ 3  ความพึงพอใจที่มีต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
เกณฑ์การให้คะแนนความพึงพอใจต่อกระบวนการการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 5 ระดับได้แก่
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ มากที่สุด             มีคะแนนเท่ากับ 5
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ มาก                  มีคะแนนเท่ากับ 4
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ ปานกลาง           มีคะแนนเท่ากับ 3
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ น้อย                 มีคะแนนเท่ากับ 2
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ น้อยที่สุด            มีคะแนนเท่ากับ 1

เกณฑ์การแปลความหมายความพึงพอใจต่อกระบวนการการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
เกณฑ์การแปลความหมายจากค่าเฉลี่ยซึ่งมีวิธีการแปลความหมายดังนี้
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00 – 1.50       หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.51 – 2.50      หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.51 – 3.50        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.51 – 4.50        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.51 – 5.00        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด



          ตารางที่ 4 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับความพึงพอใจที่มีต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
ตารางที่ 4.1แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานด้านการนำโปรแกรมตัดต่อวีดีโอไปใช้
หัวข้อ
ระดับความพึงพอใจ
ค่าเฉลี่ย
S.D.
ระดับความพึงพอใจ
1. เป็นโปรแกรมที่ง่ายต่อการใช้งาน
4.0
0.40
มาก
2. ช่วยให้ผู้รับฟังได้รู้และเข้าใจในงานนำเสนอจากโปรแกรมตัดต่อวีดิโอนี้ได้มากขึ้น
4.0
0.40
มาก
3. สะดวกต่อการใช้งาน
4.0
0.40
มาก
4. สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้หลายวิชา
4.2
0.45
มาก
5. สามารถนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.0
0.40
มาก
6. นำข้อมูลไปลงในเว็บไซต์ต่างๆ ได้สะดวก
4.4
0.55
มาก
7. สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
4.0
0.40
มาก
เฉลี่ยโดยรวม
4.28
0.07
มาก
จากตารางที่ 4.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอด้านการใช้งานและด้านการนำโปรแกรมไปประยุกต์ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม อยู่ในระดับมากโดยคิดเป็นค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.28

ส่วนที่ 4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการนำโปรแกรมตัดต่อวีดีโอไปใช้ในการเรียนการสอน
           ทำให้น่าสนใจมากขึ้น
ผลการศึกษาของสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา
การศึกษาอิสระ
เรื่อง  โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอน    
ในการดำเนินการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ได้ดำเนินการโดยแจกแบบสอบถาม เรื่อง โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอน  ให้กับนิสิตสาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา จำนวน 5 ชุด (5 คน) แต่ได้แบบสอบถามกลับคืนมา 5 ชุด โดยคิดเป็นร้อยละ ดังนี้
ตารางที่ 1 ตารางแสดงการแจกแบบสอบถามสำหรับสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา
แบบสอบถาม
จำนวนที่แจก (ฉบับบ)
จำนวนที่ได้รับ(ฉบับ)
ร้อยละ
แบบสอบถามสาวิชาสังคมศึกษา
5
5
100

ส่วนที่ 1  ข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถาม
          ตารางที่ 2 แสดงจำนวนร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามเพศ  อายุ ชั้นปี และที่พัก 2.1 จำแนกตามเพศ
เพศ
จำนวน (คน)
ร้อยละ
ชาย
4
80
หญิง
1
20
รวม
5
100
2.2 จำแนกตามอายุ
อายุ ปี
จำนวน (คน)
ร้อยละ
18-21  ปี
5
100
22-25  ปี
0
00
รวม
5
100
2.3 จำแนกตามที่พัก
ที่พัก
จำนวนคน
ร้อยละ
หอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ขามเรียง
1
20
หอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ในเมือง
2
40
หอพักนอกมหาวิทยาลัย
2
40
บ้านพักส่วนตัว
0
0
อื่นๆ………………………
0
0
รวม
5
100

จากตารางที่ 2.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเป็นผู้ชายโดยคิดเป็นร้อยละ 80 และผู้หญิงร้อยละ 20 ของผู้ตอบแบบสอบถาม  จากตาราง 2.2 พบว่าผู้ตอบแบสอบถามส่วนใหญ่จะมีอายุตั้งแต่ 18 - 21 ปีขึ้นไปโดยคิดเป็นร้อยละ 100 ของผู้ตอบแบบสอบถาม  ตารางที่ ตารางที่ 2.3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามจะพักอยู่ในเขตหอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ขามเรียงร้อยละ  20  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด หอพักในมหาวิทยาลัยเขตพื้นที่ในเมืองร้อยละ 40  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด และหอพักนอกมหาวิทยาลัยร้อยละ 40 ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด

ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอนของผู้ตอบแบบสอบถาม
          ตารางที่ 3 แสดงจำนวนร้อยละข้อมูลเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอเพื่อการเรียนการสอนของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตารางที่ 3.1 แสดงร้อยละการเคยใช้หรือไม่เคยใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
ข้อมูลการใช้สื่อสังคม
ร้อยละ
เคยใช้
100
ไม่เคยใช้
0
รวม
100

ตารางที่ 3.2 แสดงร้อยละของการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอแต่ละประเภทของผู้ตอบแบบสอบถาม
ประเภทของโปรแกรม
จำนวน
ร้อยละ
Windows Movie Maker
3
15.78
Kate’s Video Toolkit
1
5.26
VSDC Free Video Editor
1
5.26
VirtualDub
1
5.26
Freemake Video Converter
2
10.52
PowerDirector
0
0
Final Cut Pro X (For Mac)
1
5.26
Adobe Premiere Pro
2
10.52
Lightworks
0
0
Avidemu
0
0
MPEG Streamclip
0
0
Free Video Dub
1
5.26
CyberLink      
1
5.26
Sony Vegas Pro 13
3
15.78
Corel VideoStudio Pro
3
15.78
รวม
19
100

ตารางที่ 3.3 แสดงร้อยละวัตถุประสงค์ของการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
วัตถุประสงค์หลักในการใช้งาน
จำนวน
ร้อยละ
มีรูปแบบในการนำเสนอได้หลายทาง
4
18.18
เป็นโปรแกรมที่ทำให้งานออกมามีประสิทธิภาพมากขึ้น
3
13.63
ใช้งานง่าย  ไม่ยุ่งยากซับซ้อน
5
22.72
สามารถตัดต่อวิดีโอแล้วมีประสิทธิภาพ
3
13.63
สามารถทำได้ด้วยตนเอง เพราะทำง่าย
3
13.63
อาจารย์เป็นคนแนะนำให้ใช้โปรแกรมตัดต่อวีดิโอ
4
18.18
รวม
22
100

จากตารางที่ 3.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จะเคยใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอโดยคิดเป็นร้อยละ 100  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด  จากตารางที่ 3.2 พบว่าโปรแกรมตัดต่อวีดีโอทีได้รับความนิยมที่สุดคือ  Windows Movie Maker  โดยคิดเป็นร้อยละ 24  ของโปรแกรมตัดต่อวีดีโอทั้งหมดจากตารางที่ 3.3 พบว่าวัตถุประสงค์หลักส่วนใหญ่จะใช้ใช้งานง่าย  ไม่ยุ่งยากซับซ้อนโดยคิดเป็นร้อยละ 22.72 ของวัตถุประสงค์หลักทั้งหมด

ส่วนที่ 3  ความพึงพอใจที่มีต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
เกณฑ์การให้คะแนนความพึงพอใจต่อกระบวนการการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 5 ระดับได้แก่
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ มากที่สุด             มีคะแนนเท่ากับ 5
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ มาก                  มีคะแนนเท่ากับ 4
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ ปานกลาง           มีคะแนนเท่ากับ 3
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ น้อย                 มีคะแนนเท่ากับ 2
มีความพึงพอใจเรื่องนั้นในระดับ น้อยที่สุด            มีคะแนนเท่ากับ 1

เกณฑ์การแปลความหมายความพึงพอใจต่อกระบวนการการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
เกณฑ์การแปลความหมายจากค่าเฉลี่ยซึ่งมีวิธีการแปลความหมายดังนี้
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00 – 1.50       หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.51 – 2.50      หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.51 – 3.50        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.51 – 4.50        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.51 – 5.00        หมายถึง    มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด



          ตารางที่ 4 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับความพึงพอใจที่มีต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
ตารางที่ 4.1แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานด้านการนำโปรแกรมตัดต่อวีดีโอไปใช้
หัวข้อ
ระดับความพึงพอใจ
ค่าเฉลี่ย
S.D.
ระดับความพึงพอใจ
1. เป็นโปรแกรมที่ง่ายต่อการใช้งาน
4.0
0.45
มาก
2. ช่วยให้ผู้รับฟังได้รู้และเข้าใจในงานนำเสนอจากโปรแกรมตัดต่อวีดิโอนี้ได้มากขึ้น
4.0
0.45
มาก
3. สะดวกต่อการใช้งาน
4.0
0.45
มาก
4. สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้หลายวิชา
4.0
0.45
มาก
5. สามารถนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.0
0.45
มาก
6. นำข้อมูลไปลงในเว็บไซต์ต่างๆ ได้สะดวก
4.0
0.45
มาก
7. สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
4.0
0.45
มาก
เฉลี่ยโดยรวม
4.00
0.05
มาก
จากตารางที่ 4.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดีโอด้านการใช้งานและด้านการนำโปรแกรมไปประยุกต์ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม อยู่ในระดับมากโดยคิดเป็นค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.00

ส่วนที่ 4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการนำโปรแกรมตัดต่อวีดีโอไปใช้ในการเรียนการสอน
           ทำให้น่าสนใจมากขึ้น และยังทำให้เด็กสนุกสนานอีด้วย